พิธีเป่าหูเด็กทารกของชนเผ่าพื้นเมืองในเขตเตยเงวียน

พิธีเป่าหูเด็กทารกของชนเผ่าพื้นเมืองในเขตเตยเงวียน

(VOVWORLD) - ในวิถีชีวิตชุมชนของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในเขตเตยเงวียนที่ราบสูงตอนกลางของเวียดนามยังคงรักษาและปฏิบัติประเพณีวัฒนธรรมต่างๆตามความเชื่อของชาวบ้าน และหนึ่งในนั้นคือประเพณีการจัดพิธีเป่าหูทารกในช่วงอายุ 1 ถึง 3 เดือนหลังจากมีการตั้งชื่อแล้ว ซึ่งเป็นพิธีกรรมเพื่อถ่ายทอดความปรารถนาและความคาดหวังให้ถึงเทพเจ้าและบรรพบุรุษเพื่อประทานพรและปกป้องคุ้มครองให้เด็กเติบโตแข็งแรงเป็นคนดี
เทศกาลตำข้าวเม่า ความงามทางวัฒนธรรมของชนเผ่าไตในจังหวัดเตวียนกวาง

เทศกาลตำข้าวเม่า ความงามทางวัฒนธรรมของชนเผ่าไตในจังหวัดเตวียนกวาง

(VOVWORLD) - เมื่อต้นข้าวใกล้จะถึงช่วงเก็บเกี่ยว พี่น้องชนเผ่าไตในเตวียนกวางก็ยุ่งอยู่กับการเตรียมเทศกาลตำข้าวเม่า กลิ่นข้าวคั่วหอมอบอวลทั่วทั้งหมู่บ้าน เสียงตำข้าวเม่า เสียงหัวเราะสนุกสนานของผู้คน ได้สร้างบรรยากาศที่คึกคักเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยือน
การอนุรักษ์ศิลปะการภาพวาดขี้ผึ้งของชนกลุ่มน้อยหลายเผ่าในเวียดนาม

การอนุรักษ์ศิลปะการภาพวาดขี้ผึ้งของชนกลุ่มน้อยหลายเผ่าในเวียดนาม

(VOVWORLD) -ศิลปะการวาดขี้ผึ้งบนผ้าถือเป็นความงามทางประเพณีที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคนในชุมชนเผ่าม้งและเผ่าเย้าเตี่ยน ด้วยฝีมือที่ดีเยี่ยมและจินตนาการอันหลากหลาย ผู้หญิงชนเผ่าได้ใช้ขี้ผึ้งเพื่อสร้างผ้าและเครื่องแต่งกายที่มีลวดลายปราณีต สีสันสดใสและสวยงาม
วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวเผ่าโก๊งในเหนิมคาว

วัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวเผ่าโก๊งในเหนิมคาว

(VOVWORLD) -กลุ่มชาติพันธุ์ โก๊ง (Cống) หรือในบางท้องถิ่นเรียกว่ากลุ่มชาติพันธุ์ ซ้า และหม่าง มีหลักแหล่งอาศัยอยู่ในภูมิภาคตะวันตกเฉียงเหนือเป็นส่วนใหญ่คือจังหวัด ลายโจว์ และ...
อัตลักษณ์ของวัฒนธรรมชนเผ่าMảng ในจังหวัดลายโจว์

อัตลักษณ์ของวัฒนธรรมชนเผ่าMảng ในจังหวัดลายโจว์

(VOVWORLD) -ชนกลุ่มน้อยเผ่าหมาง(Mảng)มีจำนวนประชากรไม่ถึงหมื่นคนมีถิ่นอาศัยเพียงที่เดียวในจังหวัดลายโจว์ เมื่อก่อนนี้คนกลุ่มนี้ได้ใช้ชีวิตแบบเลื่อนลอยทำให้สภาพความเป็นอยู่ยากจนไม่มั่นคง ส่งผลให้เอกลักษณ์วัฒนธรรมดั้งเดิมจางหายไปอย่างต่อเนื่อง แต่จนถึงทุกวันนี้ จากการปฏิบัตินโยบายส่งเสริมการผลิตและสร้างชีวิตที่มั่นคงถาวรของทางการท้องถิ่น อัตลักษณ์วัฒนธรรมดั้งเดิมของชุมชนเผ่าหมายก็ค่อยๆได้รับการฟื้นฟูและสืบสานต่อไป
อนุรักษ์เอกลักษณ์วัฒนธรรมของชนเผ่าลึอในจังหวัดลายโจว์

อนุรักษ์เอกลักษณ์วัฒนธรรมของชนเผ่าลึอในจังหวัดลายโจว์

(VOVWORLD) -กลุ่มชาติพันธุ์ลึอ(Lự)ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อยที่มีประชากรน้อยกว่าหมื่นคนในจังหวัดลายโจว์ยังคงรักษาวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนเอาไว้มากมาย ซึ่งสะท้อนให้เห็นจากบ้านใต้ถุนสูง เครื่องแต่งกาย งานเทศกาลและเพลงพื้นบ้าน...
พิธี pa’đăh เพื่อตอบแทนบุญคุณพ่อตาแม่ยายของชนเผ่าเกอตู

พิธี pa’đăh เพื่อตอบแทนบุญคุณพ่อตาแม่ยายของชนเผ่าเกอตู

(VOVWORLD) -ใน54 กลุ่มชาติพันธุ์ ของเวียดนาม ชนเผ่าเกอตูมีพิธีกรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์หลายอย่าง โดยเฉพาะพิธีตอบแทนบุญคุณพ่อตาแม่ยาย ซึ่งพิธีนี้มีความหมายที่ยิ่งใหญ่ในการสอนและการสร้างจิตสำนึกเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อกันในครอบครัว หมู่บ้านและชุมชน...
งานเทศกาลหมะหมะเมของชนเผ่าขมุในจังหวัดลายโจว์

งานเทศกาลหมะหมะเมของชนเผ่าขมุในจังหวัดลายโจว์

(VOVWORLD) - ชนเผ่าขมุ (เคอมู้) ในจังหวัดลายโจว์มีเอกลักษณ์วัฒนธรรมที่โดดเด่น รวมถึงงานเทศกาลหมะหมาะเม หรือ งานบุญข้าวใหม่ ซึ่งเป็นงานเพื่อแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อพ่อแม่และบรรพบุรุษและงานเซ่นไหว้เทพที่คอยคุ้มครองให้การเก็บเกี่ยวได้ผลดี ชาวบ้านอยู่ดีกินดีและมีความสุข
พี่น้องชนกลุ่มน้อยในจังหวัดกว๋างนามภูมิใจที่ใช้นามสกุลของลุงโฮ

พี่น้องชนกลุ่มน้อยในจังหวัดกว๋างนามภูมิใจที่ใช้นามสกุลของลุงโฮ

(VOVWORLD)- ในหัวใจของคนเวียดนามทุกคนประธานโฮจิมินห์เป็นผู้นำที่ยิ่งใหญ่และก็เป็นบิดาที่เคารพรักยิ่งเพราะท่านได้ทุ่มเทจิตใจเพื่อชาติเพื่อประชาชนอุทิศทั้งชีวิตของตนเพื่อภารกิจปลดปล่อยประชาชาติและการรวมประเทศเป็นปึกแผ่น ดังนั้น เพื่อแสดงความเคารพรักและความกตัญญูต่อประธานโฮจิมินห์ กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในหลายท้องถิ่นของเวียดนามรวมถึงในจังหวัดกว๋างนาม ได้เลือกใช้นามสกุลโฮด้วยความภาคภูมิใจ
Gươl – สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณของชนเผ่าเกอตู

Gươl – สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมและจิตวิญญาณของชนเผ่าเกอตู

(VOVWORLD) -ในกลุ่มชาติพันธุ์ 54 กลุ่มของเวียดนาม กลุ่มชาติพันธุ์เกอตูเป็นชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ในภาคกลางของเวียดนามตามแนวเทือกเขาเจื่องเซิน โดยเฉพาะที่จังหวัดเถื่อเทียนเว้และกว๋างนาม และบ้าน Gươl ของชาวเกอตูคือจุดที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ที่ไม่เพียงแต่เป็นบ้านที่มีสถาปัตยกรรมเฉพาะตัวเท่านั้น...
วัดของชาวเผ่าเขมรร่วมส่งเสริมการอนุรักษ์ภาษาเขียนและภาษาพูด

วัดของชาวเผ่าเขมรร่วมส่งเสริมการอนุรักษ์ภาษาเขียนและภาษาพูด

(VOVWORLD) -สำหรับชาวเผ่าเขมรในเวียดนาม วัดไม่ได้เป็นเพียงสถานที่ประกอบศาสนกิจเท่านั้น แต่ยังเป็นสถานที่เพื่อการศึกษา การอบรมสั่งสอนเกี่ยวกับวิถีการดำรงชีวิตและความเป็นมนุษย์อีกด้วย โดยวัดทั้ง 92...
กำนันผู้ใหญ่บ้าน ผู้ที่ได้รับความเคารพนับถือ คือผู้สร้างเสริมกลุ่มมหาสามัคคีชนในชาติในดั๊กลัก

กำนันผู้ใหญ่บ้าน ผู้ที่ได้รับความเคารพนับถือ คือผู้สร้างเสริมกลุ่มมหาสามัคคีชนในชาติในดั๊กลัก

(VOVWORLD) - ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา บรรดากำนันผู้ใหญ่บ้านและผู้ที่ได้รับความเคารพนับถือประจำหมู่บ้านต่างๆในจังหวัดดั๊กลักได้ยืนยันบทบาทต่อกระบวนการส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรู้ด้านกฎหมายแก่ชนกลุ่มน้อยต่างๆ ซึ่งได้มีส่วนร่วมสำคัญในการอนุรักษ์วัฒนธรรม พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และเสริมสร้างกลุ่มมหาสามัคคีชนทั้งชาติอย่างมั่นคง
สนุกสนานการละเล่นพื้นบ้านของชนเผ่าม้งที่จังหวัดฮายาง

สนุกสนานการละเล่นพื้นบ้านของชนเผ่าม้งที่จังหวัดฮายาง

(VOVWORLD) - ในช่วงจัดงานเทศกาลต่างๆของชุมชนชาวม้งบนที่ราบสูงหินห่ายาง นอกจากกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม การระบำรำฟ้อนแคนและร้องเพลงโต้ตอบกันแล้วก็ยังมี การละเล่นพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ต่างๆ เช่น การตีทูลู การตีไม้ การแข่งชักเย่อ รวมถึงการเล่นตีลูกขนไก่
ความปราณีตในการทอผ้าลายพื้นเมือง วิธีการวัดความเป็นแม่ศรีเรือนที่ดีของเผ่าเอเด

ความปราณีตในการทอผ้าลายพื้นเมือง วิธีการวัดความเป็นแม่ศรีเรือนที่ดีของเผ่าเอเด

(VOVWORLD) -ในชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ เอเด ในจังหวัดดั๊กลักเด็กผู้หญิงได้รับการอบรมบ่มสอนจากแม่และยายเกี่ยวกับวิธีการทอผ้าพื้นเมืองเพื่อทำผ้าห่ม เป้อุ้มแบบสลิงหรือเสื้อผ้าใช้เองและใช้เป็นของขวัญสำหรับครอบครัวของฝ่ายชายเมื่อหญิงสาวไป "จับ" คู่สามีของเธอตามประเพณีของชนเผ่าตน
งานขอฝนของเผ่าเอเดในจังหวัดดั๊กลัก

งานขอฝนของเผ่าเอเดในจังหวัดดั๊กลัก

(VOVWORLD) - งาน ขอฝน ตามประเพณี ซึ่งเป็นหนึ่งในงานชุมชนที่มีคุณค่าทางวัฒนธรรมและมีความหมายพิเศษด้านความเชื่อและความปรารถนาขอพรจาก อย่าง หรือเทพเจ้าให้ปกป้องคุ้มครอง ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาลและพืชพันธุ์เจริญงอกงาม การผลิตได้ผลดี...
งานเซ่นไหว้ขอพรเพื่อให้ช้างมีความแข็งแรงในจังหวัดดั๊กลัก

งานเซ่นไหว้ขอพรเพื่อให้ช้างมีความแข็งแรงในจังหวัดดั๊กลัก

(VOVWORLD) -สำหรับกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในที่ราบสูงตอนกลางเตยเงวียน ช้างไม่เพียงเป็นทรัพย์สินที่สำคัญเพื่อยืนยันสถานะของครอบครัวและวงตระกูลเท่านั้น แต่ยังเป็นตัวแทนของเทพเจ้าแห่งช้าง เป็นสัญลักษณ์ของความโชคดีและความรุ่งเรืองของทั้งหมู่บ้าน ดังนั้น จนถึงปัจจุบันกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในที่ราบสูงเตยเงวียนยังคงรักษางานประเพณีต่างๆเกี่ยวกับช้างมากมายหลายงาน รวมถึง...
รักษาเอกลักษณ์วัฒนธรรมของชุมชนเผ่าม้งในเขตเขาสูงหมู่กังฉายจังหวัดเอียนบ๊าย

รักษาเอกลักษณ์วัฒนธรรมของชุมชนเผ่าม้งในเขตเขาสูงหมู่กังฉายจังหวัดเอียนบ๊าย

(VOVWORLD) -อำเภอหมู่กังฉาย จังหวัดเอียนบ๊ายมีประชากรร้อยละ95เป็นชนเผ่าม้ง โดยมีเอกลักษณ์วัฒนธรรมที่โดดเด่นต่างๆที่ชาวบ้านยังคงรักษาจากรุ่นสู่รุ่น อันเป็นการช่วยเสริมสร้างความหลากหลายในวิถีชีวิตทางจิตใจของพี่น้องประชาชนรวมทั้งมีส่วนร่วมในการพัฒนาสร้างสรรค์ท้องถิ่นให้เจริญสวยงามยิ่งขึ้น
เทศกาล Thanh minh วันงานแห่งความกตัญญูรู้คุณของชนเผ่าเย้า

เทศกาล Thanh minh วันงานแห่งความกตัญญูรู้คุณของชนเผ่าเย้า

(VOVWORLD) -ในเดือนสามจันทรคติทุกปีเป็นช่วงเวลาที่ชุมชนเผ่าเย้าในหลายท้องถิ่นได้จัดงานเทศกาลแทงมิงห์ (Tết thanh minh) ซึ่งมีลักษณะเหมือนงาน เช็งเม้ง และเป็นหนึ่งในวันตรุษเต๊ตที่สำคัญของผู้คนพร้อมกับวันขึ้นปีใหม่และวันเพ็ญเดือนเจ็ดทางจันทรคติ แม้ว่าเทศกาล แทงมิงห์ ของชุมชนเผ่าเย้าแต่ละกลุ่มจะมีลักษณะที่แตกต่างกันบ้าง...
เทศกาลขอฝนของชาวเผ่าไทขาวในเมืองเซินลา

เทศกาลขอฝนของชาวเผ่าไทขาวในเมืองเซินลา

(VOVWORLD) -ที่ราบสูงหมกโจว์ จังหวัดเซินลา ไม่เพียงแต่เป็นที่รู้จักว่าเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจด้วยสภาพอากาศที่สดชื่น เย็นสบาย ด้วยภูมิทัศน์ทางธรรมชาติที่สวยสดงดงาม เท่านั้นหากท้องถิ่นแห่งนี้ยังดึงดูดความสนใจของผู้คนด้วยเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ
รื่นเริงงานเทศกาล กาแฟ บวนมาถวด

รื่นเริงงานเทศกาล กาแฟ บวนมาถวด

(VOVWORLD) - ในระหว่างการจัดงานเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์ ตามชุมชนหมู่บ้านต่างๆ พี่น้องชนกลุ่มน้อยได้จัดกิจกรรมวัฒนธรรมศิลปะที่หลากหลายน่าสนใจและสะท้อนเอกลักษณ์ของผืนดินเตยเงวียนเพื่อขานรับเทศกาลกาแฟอย่างสนุกรื่นเริง
งานรับขวัญอายุยืน ประเพณีที่มีความหมายในวิถีชีวิตชาวเผ่า เมอนง เรอลำ

งานรับขวัญอายุยืน ประเพณีที่มีความหมายในวิถีชีวิตชาวเผ่า เมอนง เรอลำ

(VOVWORLD) - โดยทั่วไปแล้วชาว เมอนงเรอลำ ได้จัดงานรับขวัญอายุยืนเมื่อพ่อแม่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เพื่อแสดงความกตัญญู ซึ่งจะจัดในช่วงสองเดือนแรกของปีหลังจากเสร็จสิ้นฤดูทำนาต้นปี