อาชีพปลูกฝ้ายและทอผ้าฝ้ายของชาวทูลาว – มรดกวัฒนธรรมนามธรรมระดับชาติ

อาชีพปลูกฝ้ายและทอผ้าฝ้ายของชาวทูลาว – มรดกวัฒนธรรมนามธรรมระดับชาติ

(VOVWORLD) - ชนเผ่าทูลาว หรือมีอีกชื่อคือชนเผ่าไตดำ มีประชากรประมาณ 1,400 คน ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยที่อำเภอเหมื่องเคืองและอำเภอซีมากาย...
เปิดสัปดาห์มหาสามัคคีชนในชาติ –มรดกวัฒนธรรมเวียดนามปี 2023

เปิดสัปดาห์มหาสามัคคีชนในชาติ –มรดกวัฒนธรรมเวียดนามปี 2023

(VOVWORLD) -เมื่อค่ำวันที่ 23 พฤศจิกายน ณ หมู่บ้านวัฒนธรรมชนเผ่าต่างๆในเวียดนามที่ด่งโม อำเภอเซินเตย กรุงฮานอย ได้มีการเปิดสัปดาห์มหาสามัคคีชนในชาติ – มรดกวัฒนธรรมเวียดนามปี 2023และงานตั้งเสาตุง การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม...
การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมกรุงเก่าเว้ให้แก่คนรุ่นหลัง

การอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมกรุงเก่าเว้ให้แก่คนรุ่นหลัง

(VOVWORLD) -โบราณสถานกรุงเก่าเว้เป็นมรดกทางด้านรูปธรรมแห่งแรกของเวียดนามที่ได้รับการรับรองเป็นมรดกโลกจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโกเมื่อเดือนธันวาคมปี 1993 ภายหลัง 30 ปี โบราณสถานกรุงเก่าเว้เป็นหนึ่งในโบราณสถานที่ได้รับการอนุรักษ์อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด
มรดกวัฒนธรรม –ทรัพยากรอันล้ำค่าในการสร้างสรรค์ชนบทใหม่

มรดกวัฒนธรรม –ทรัพยากรอันล้ำค่าในการสร้างสรรค์ชนบทใหม่

(VOVWORLD) -หมู่บ้านเวียดนามมีคุณค่าวัฒนธรรมพื้นเมืองที่เป็นเอกลักษณ์ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สร้างความยั่งยืน เป็นจิตวิญญาณของหมู่บ้านเวียดนามแต่ละแห่ง ในกระบวนการสร้างสรรค์ชนบทในปัจจุบัน มรดกวัฒนธรรมของชาวที่ได้สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคนถือเป็นสิ่งล้ำค่าต่อการสร้างสรรค์หมู่บ้านชนบท พัฒนา สร้างความกลมกลืน...
มรดกวัฒนธรรมทางทะเลและเกาะแก่ง – จุดเด่นของการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดกว๋างหงาย

มรดกวัฒนธรรมทางทะเลและเกาะแก่ง – จุดเด่นของการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดกว๋างหงาย

(VOVWORLD) - จังหวัดกว๋างหงายกำลังพยายามใช้ประโยชน์จากศักยภาพและจุดแข็งทางทะเลและเกาะแก่งเพื่อพัฒนาเป็นจุดหมายปลายทางที่น่าสนใจสำหรับนักท่องเที่ยว ซึ่งในการปฏิบัติแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ทางการจังหวัดฯได้ให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการท่องเที่ยวทางทะเลและเกาะแก่งควบคู่กับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
อนุรักษ์และส่งเสริมศิลปะการร้องเพลงทำนองซวาน – มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

อนุรักษ์และส่งเสริมศิลปะการร้องเพลงทำนองซวาน – มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

(VOVWORLD) - เมื่อวันที่ 8 ธันวาคมปี 2017 การร้องเพลงทำนองซวานในจังหวัดฟู้เถาะได้รับการรับรองให้เป็นมรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติหรือยูเนสโก โดยจากการเป็นมรดกวัฒนธรรมนามธรรมที่ต้องได้รับการอนุรักษ์อย่างเร่งด่วนสู่การเป็นมรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติในตลอด 6 ปี...
การแสดงทำนองพื้นเมือง “แทน” ของชนกลุ่มน้อยเผ่าไต หนุ่งและไท มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

การแสดงทำนองพื้นเมือง “แทน” ของชนกลุ่มน้อยเผ่าไต หนุ่งและไท มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

(VOVWORLD) -ค่ำวันที่ 3 กันยายน ณ จังหวัดเตวียนกวาง ได้มีการจัดพิธีรับหนังสือรับรอง “การแสดงทำนองพื้นเมือง “แทน”...
สัปดาห์การท่องเที่ยว–มรดกวัฒนธรรมบาเบ๋ ปี 2022

สัปดาห์การท่องเที่ยว–มรดกวัฒนธรรมบาเบ๋ ปี 2022

(VOVWORLD) - การจัดงานสัปดาห์การท่องเที่ยวบาเบ๋ จะนำเสนอภาพลักษณ์และผู้คนในจังหวัดบั๊กก่าน รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยวทะเลสาบเบเบ๋ สู่บรรดาผู้มาเยือนทั้งในและต่างประเทศ พร้อมส่งเสริมศักยภาพการท่องเที่ยวของบั๊กก่าน
วง Gamelanของอินโดนีเซีย- มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

วง Gamelanของอินโดนีเซีย- มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

(VOVWORLD) - อินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีเครื่องดนตรีพื้นเมืองมากมาย หนึ่งในนั้นคือวง Gamelan ที่เพิ่งได้รับการรับรองเป็นมรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติจาก UNESCO ในรายการชายคาอาเซียนวันนนี้ ทางผู้จัดทำรายการขอเชิญท่านผู้ฟังศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวงดนตรีนี้ค่ะ
การฟ้อน Xòe Thái  –มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

การฟ้อน Xòe Thái –มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ

(VOVWORLD) -ในการประชุมครั้งที่ 16 ของคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลของอนุสัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรมนามธรรมปี 2003 ผ่านวิดีโอคอนเฟอเรนซ์เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม การฟ้อน"Xòe Thái"...
เวียดนาม – ไทย: 45 ปีแห่งไมตรีจิตมิตรภาพ

เวียดนาม – ไทย: 45 ปีแห่งไมตรีจิตมิตรภาพ

(VOVWORLD) -ค่ำวันที่ 3 ธันวาคม ณ โรงละคนใหญ่ฮานอย กระทรวงวัฒนธรรม การกีฬาและการท่องเที่ยวได้ประสานงานกับสถานทูตไทย ณ กรุงฮานอยและโรงละครใหญ่ฮานอยจัดงาน “Thailand...
ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์นครโฮจิมินห์ผ่านงานเทศกาลชุดอ๊าวหย่ายครั้งที่ 7

ประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์นครโฮจิมินห์ผ่านงานเทศกาลชุดอ๊าวหย่ายครั้งที่ 7

(VOVWORLD) - งานเทศกาลชุดอ๊าวหย่ายนครโฮจิมินห์ครั้งที่ 7 ภายใต้หัวข้อ “ฉันรักชุดอ๊าวหย่ายเวียดนาม” จะมีขึ้นในระหว่างวันที่ 11 ตุลาคม – 20...
ความเลื่อมใสศรัทธาในการบูชาบรรพกษัตริย์หุ่ง-มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของประชาชาติเวียดนาม

ความเลื่อมใสศรัทธาในการบูชาบรรพกษัตริย์หุ่ง-มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของประชาชาติเวียดนาม

(VOVWORLD) - ความเลื่อมใสศรัทธาในการบูชาบรรพกษัตริย์หุ่งได้รับการรับรองเป็นมรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติจากยูเนสโกเมื่อปี 2012 โดยได้รับการประเมินว่า มีบทบาทสำคัญเป็นพิเศษในชีวิตจิตใจของชาวเวียดนาม มีพลังชีวิตที่เข้มแข็งและได้รับการส่งเสริมในชุมชนจนกลายเป็นเอกลักษณ์วัฒนธรรมของประชาชาติเวียดนาม
มรดกวัฒนธรรมนามธรรม 3 รายการที่มีขอบเขตใหญ่ที่สุดใน 3 ภาคของเวียดนาม

มรดกวัฒนธรรมนามธรรม 3 รายการที่มีขอบเขตใหญ่ที่สุดใน 3 ภาคของเวียดนาม

(VOVWORLD) -ภายหลัง 12 ปีที่ศิลปะการแสดงดนตรีพระราชวังเว้ ซึ่งเป็นมรดกวัฒนธรรมนามธรรมรายการแรกของเวียดนามได้รับการรับรองจากองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมของสหประชาชาติหรือยูเนสโกเมื่อปี 2008 จนถึงขณะนี้ เวียดนามมีมรดกวัฒนธรรมนามธรรมของมนุษยชาติ 13 รายการ สิ่งที่น่าสนใจคือทั้งภาคเหนือ...
เฟสติวัลเว้ 2020 “มรดกวัฒนธรรมกับการผสมผสานและการพัฒนา”

เฟสติวัลเว้ 2020 “มรดกวัฒนธรรมกับการผสมผสานและการพัฒนา”

(VOVWORLD) - จังหวัดเถื่อเทียนเว้ได้ประกาศจัดงานเฟสติวัลเว้ 2020 ครั้งที่ 11 ในระหว่างวันที่ 28 สิงหาคมถึงวันที่ 2 กันยายน อันเป็นการสร้างนิมิตหมายของเส้นทาง...
การปฏิบัติความเลื่อมใสบูชาเจ้าแม่-มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของชาวเวียดนามในทั่วประเทศ

การปฏิบัติความเลื่อมใสบูชาเจ้าแม่-มรดกวัฒนธรรมนามธรรมของชาวเวียดนามในทั่วประเทศ

(VOVWORLD) - การปฏิบัติความเลื่อมใสบูชาเจ้าแม่ (Mẫu Tam Phủ) ของชาวเวียดนามคือมรดกวัฒนธรรมนามธรรมลำดับที่ 11ของเวียดนามที่ได้รับการรับรองจากองค์การยูเนสโกเมื่อปี 2016 โดยเป็นความเลื่อมใสที่พบเห็นได้ใน 21จังหวัดและนครตั้งแต่เหนือจรดใต้ เช่น จังหวัดนามดิ่ง...
กลุ่มดิ่งหล่างเวียดส่งเสริมคุณค่าของมรดกเวียดนาม

กลุ่มดิ่งหล่างเวียดส่งเสริมคุณค่าของมรดกเวียดนาม

(VOVWORLD) -กลุ่มดิ่งหล่างเวียดหรือแปลว่า ศาลาประจำหมู่บ้านเวียดนามเป็นกลุ่มผู้รักมรดกและวัฒนธรรมพื้นเมืองของเวียดนามที่ก่อตั้งโดยนักวิจัยด้านศิลปะ เหงวียนดึ๊กบิ่ง จากการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคมออนไลน์ กลุ่มดิ่งหล่างเวียดได้ร่วมกับชุมชนในการอนุรักษ์และส่งเสริมเอกลักษณ์วัฒนธรรมของประชาชาติ